Longahearthealth

0999868443

emergency call

Doctor
Schedule

Service

Heart
Diagnosis

Check Status

Report

recommend

Package

Select Package

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et doloremagna aliqua. Ut enim adminim veniam.

Heart disease
treatment

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit

Heart disease
treatment

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit

Heart disease
treatment

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit

View more

recommend

Package

Rehabilitate the heart system with Longa Heart Health’s technology. We have doctors and personnel who have experience in the heart and blood vessels. who are ready to give advice and treatment in order to see the trend of disease in the future As well as helping plan health care using various methods such as ECP, giving vitamins. to nourish the body along with going to alternative medicine which will help Have a healthy body and make your heart strong for a long time.

recommend

Package

Select Package

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et doloremagna aliqua. Ut enim adminim veniam.

Promotion

Select Promotion

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipiscing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et doloremagna aliqua. Ut enim adminim veniam.

Our Feedback

Blog

ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง รักษาหรือป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้อย่างไร?

ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง รักษาหรือป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้อย่างไร? ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง (chronic heart failure) พบได้ในผู้ป่วยที่เคยได้รับการวินิจฉัยว่ามีภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันมาก่อนหรือไม่ก็ได้ แต่ในขณะที่ทำการวินิจฉัยผู้ป่วยจะต้องมีอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวและ/หรือมีการทำงานที่ผิดปกติไปของหัวใจ ซึ่งอาการอยู่กับผู้ป่วยมาเป็นเวลานาน โดยทั้งนี้ทั้งนั้นถือเป็นภาวะที่สามารถแก้ไขได้ โดยวิธีการรักษาจะขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคลแตกต่างกันออกไป การรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว ทำอย่างไร การรักษาภาวะหัวใจล้มเหลวจะต้องพิจารณาจากหลาย ๆ ปัจจัย เช่น สาเหตุของภาวะหัวใจล้มเหลว ความรุนแรงของโรค ระยะของโรค โรคอื่น ๆ ที่พบร่วม เป็นต้น โดยแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาวิธีการรักษาที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย

Read More »

ความดันโลหิตสูง เอาลงได้ ไม่ต้องใช้ยา

ความดันโลหิตสูง เอาลงได้ ไม่ต้องใช้ยา ความดันโลหิตสูง สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคนแต่มักพบมากในผู้สูงอายุและผู้มีพฤติกรรมเสี่ยงในการใช้ชีวิต เช่น สูบบุหรี่หรือดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ ชอบกินของเค็มๆ หรืออาหารแปรรูปที่มีโซเดียมสูง รวมไปถึงการมีความเครียดสะสมทั้งแบบรู้ตัวและไม่รู้ตัว ซึ่งโรคความดันโลหิตอาจไม่แสดงอาการ แต่กลายมาเป็นสาเหตุของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อันตราย เช่น เป็นโรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง เส้นเลือดแดงโป่งพอง หรือไตวายที่เป็นอันตรายต่อชีวิตและอาจทำให้ทุพพลภาพไปตลอดชีวิตได้ ดังนั้นเมื่อแพทย์ตรวจพบภาวะความดันโลหิตสูงในตัวที่ผู้ป่วย จึงจำเป็นที่จะต้องให้กินยาเพื่อป้องกันความเสี่ยงนั้น แต่อย่างไรก็ตามโรคความดันโลหิตสูง ไม่ใช่โรคที่รักษาได้ง่าย จึงทำให้ผู้ป่วยต้องกินยาอยู่ตลอดและดูเหมือนกับว่าจะต้องกินยาต่อไปตลอดชีวิต ซึ่งโดยแท้จริงหากผู้ป่วยรับประทานยาร่วมกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก็จะทำให้อาการดีขึ้นในช่วงแรก และยิ่งถ้าหากสามารถลด ละ

Read More »

ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ – ปัจจัยไหนเสี่ยงที่สุด?

ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ หัวใจ หนึ่งในอวัยวะสำคัญของร่างกายอันดับต้น ๆ เพราะเป็นอวัยวะที่ต้องทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงอวัยวะอื่น ๆ ทั่วร่างกายให้อวัยวะเหล่านั้นสามารถทำงานได้เป็นปกติ และร่างกายก็จะสามารถทำงานและดำเนินชีวิตได้ปกติ ดังนั้นจึงเป็นเหตุผลว่าทำไม เมื่อหัวใจขาดเลือดหรือเส้นเลือดหัวใจตีบหรือตันจึงเป็นอันตรายอย่างมาก และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้นของคนไทยและคนทั่วโลก เป็นที่น่าตกใจที่อัตราการเกิดโรคหัวใจมีแนวโน้มที่จะพุ่งสูงขึ้นเรื่อย ๆ ไม่ลดลง จึงต้องมาพิจารณาที่สาเหตุและปัจจัยว่าทำไมผู้คนถึงเป็นโรคหัวใจกันมากขึ้นอย่างไม่ลดละ โดยปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคหัวใจได้นั้นมีทั้งแบบที่ควบคุมได้อย่าง การบริโภคอาหาร การสูบบุหรี่ การออกกำลังกาย และแบบที่ควบคุมไม่ได้ เช่น อายุ เพศ หรือกรรมพันธุ์ ดังนั้นการตรวจร่างกายเป็นประจำ

Read More »

Dr. Ratanapunt Incharoensakdi

แนะนำตัวคุณหมอ

  • จบแพทย์ ปี 2521
  • เริ่มเป็นแพทย์หัวใจ ปี 2526 จนถึงปัจจุบัน (2566) รวม 40 ปี
  • ผึกงานที่ญี่ปุ่น Kyoto University (2528)
  • ฝึกงานที่เยอรมัน Hamburg University (2530)
  • ทำงานที่ไทย 2531 (เริ่มก่อตั้งศูนย์โรคหัวใจกรุงเทพ) จนถึง ปัจจุบัน